จิตวิทยา และปัจจัยขั้นพื้นฐานของความคิด

washpsa

ในปัจจุบัน จิตวิทยามีส่วนร่วมกับการใช้ชีวิตประจำวันของมนุษย์มากขึ้น จิตวิทยาจะทำหน้าที่ ในการรับรู้นึกคิดกับสมอง และทำหน้าที่ตีความมันออกมา ส่งผลแสดงออกจากทางด้านร่างกาย จะประกอบไปด้วย แรงจูงใจ ไปจนถึงการเรียนรู้

แรงจูงใจคือ

แรงจูงใจคือ แรงผลักดัน จากจิตใต้สำนึกของมนุษย์ที่แสดงออกมาในอาการที่อยากทำ หรือมีแรงบันดาลใจในการกระทำสิ่งนั้น หากผู้ที่มีแรงจูงใจ จะกระทำสิ่งใดมากกว่าคนอื่น จะให้ความสำคัญ ความพยายามต่อสิ่งที่ทำ และการกระทำในจะมีเป้าหมายมากกว่า และแรงจูงใจของมนุษย์นั้นจะแบ่งออกได้ 2 ประเภท ได้แก่ แรงจูงใจทางกาย ลักษณะจะเป็นการแสดงออกทางการกระทำเป็นหลัก ทำออกมาเพื่อสนองความต้องการของตนเอง ส่วนที่ 2 คือ แรงจูงใจเกี่ยวกับจิตใจ ซึ่งลักษณะนี้ คือ ความต้องการทางสังคม เช่น แสดงถึงความต้องการมีอำนาจ มีลูกน้อง พักพวก เป็นต้น ปัจจัยที่แสดงออกถึงแรงจูงใจของมนุษย์ประกอบไปด้วย ปัจจัยชีวภาพ เช่น อาหาร เสื้อผ้า น้ำ และความปอดภัย

896-washpsa

ทฤษฏีแรงจูงใจ กับจิตวิทยา

นักจิตวิทยา ได้วิเคราะห์และอธิบายถึงเรื่องจิตใจมนุษย์ เพื่อตอบคำถามที่เกี่ยวกับการแสดงออกทางสังคมของมนุษย์ในปัจจุบัน การนึกคิดของคนสมัยนี้ ผลที่ทำ และผลที่ได้รับจากการกระทำคืออะไร ซึ่งเป็นกฎระเบียบของสังคมในปัจจุบัน